วัฒนธรรมและประเพณีของคนอีสาน

   ปฏิเสธไม่ได้ว่าวัฒนธรรมประเพณี คือสิ่งดีงามที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษ ถือเป็นแนวปฏิบัติในการอยู่ร่วมกันในสังคม และช่วยจัดระเบียบความมีวินัยของบุคคล เป็นกรอบในการดำเนินชีวิตในแต่ละชุมชนหรือหมู่บ้านเพื่อให้มีความเหมาะสมกับวิถีชีวิตและบริบทของแต่ละแห่งชุมชนนั้นๆ

วัฒนธรรมและประเพณีของคนอีสานที่เห็นได้ชัดและเป็นเอกลักษณ์คือ 
  1. การใช้ภาษา ที่มีภาษาท้องถิ่นคือภาษาอีสาน ซึ่งรายละเอียดของการใช้คำหรือสำเนียงการออกเสียงอาจมีความแตกต่างกันบ้างในแต่ละพื้นที่ การมีภาษาพูดที่มีลักษณะเฉพาะตน 
  2. เพลงพื้นบ้าน ได้แก่ เพลงหมอลำ เพลงลูกทุ่ง การร้องสรภัญญะ เพลงกล่อมลูก เพลงกันตรึมของชาวอีสานใต้ โดยเนื้อหาในบทเพลงจะมีการสอดแทรกวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียม ประเพณี และความเป็นอยู่ของคนในภาคอีสาน รวมทั้งมีการสอดแทรกคติ คุณธรรมหรือแม้แต่เรื่องของศาสนาพุทธที่เปรียบเสมือนเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของชาวไทย
  3. การฟ้อนรำ ซึ่งจะมีความแตกต่างในแต่ละท้องที่ ตามบริบทและความเชื่อของชุมชนนั้น ได้แก่ การรำผีฟ้า การฟ้อนภูไท การเซิ้งบั้งไฟ การเซิ้งกระติ๊บ การลำโปงลาง การรำฟ้อนแคน เป็นต้น
  4. พิธีกรรม ได้แก่ พิธีกรรมการบายศรีสู่ขวัญในงานพิธีมงคลต่างๆ เช่น งานแต่ง งานบวช ซึ่งได้รับเอาความเชื่อจากศาสนาพราหมณ์เข้ามาเกี่ยวข้อง โดยเห็นได้จากการมีหมอพราหมณ์ในการทำพิธีกรรมเหล่านี้  พิธีกรรมไหว้ศาลปู่ตา ที่มีความเชื่อว่าคอยปกป้องดูแลลูกหลานและความเป็นอยู่ของคนในชุมชนนั้น หรือแม้กระทั้งการบูชาพญาแถน ในช่วงเดือนพฤษภาคม ซี่งเป็นฤดูกาลทำนาของชาวอีสาน โดยมีความเชื่อว่าหากบูชาด้วยบั้งไฟจะทำให้ฝนฟ้าตกต้องตามฤดูกาล 
  5. เครื่องดนตรีของคนอีสาน ส่วนมากจะประดิษฐ์เครื่องดนตรีที่ประยุกต์ใช้วัสดุอุปกรณ์ที่มีในท้องถิ่นนั้น เช่น แคน พิณ โปงลาง โหวด เป็นต้น ซึ่งลักษณะนิสัยของคนอีสานจะเป็นคนที่สนุกสนาน ชอบการละเล่น หรือ หากเป็นเพลงก็จะเป็นเพลงที่มีจังหวะสนุกสนาน
  6. เครื่องแต่งกาย คนอีสานจะเป็นคนเรียบง่าย ชอบความเป็นอิสระแต่ไม่ชอบยุ่งหรือสร้างความเดือดร้อนให้ใคร การแต่งกายก็เช่นกันจะเน้นความเรียบง่าย สบายๆ ให้เหมาะสมกับบริบทในท้องที่นั้น และให้เหมาะสมกับสภาพอากาศที่ร้อน การแต่งกายก็จะทำจากวัสดุที่มีในท้องถิ่นนั้น เช่น การทอผ้าไหม  การทำผ้าฝ้าย ผู้ชายก็จะเน้นนุ่งโสร่ง ผู้หญิงก็จะนุ่งผ้าซิ่น แต่ในปัจจุบันนี้การแต่งกายแบบนี้จะหาดูได้ยาก เพราะมีการเปลี่ยนไปตามยุคตามสมัย จะเป็นลักษณะสากลเพิ่มขึ้น 
  7. อาหาร เช่น ส้มตำที่หากินได้ง่ายและเป็นที่รู้จักทั่วโลก ลาบ ก้อย และที่ขาดไม่ได้คือ ข้าวเหนียวที่เป็นข้าวหลักของคนไทย 

ดังนั้นวัฒนธรรมประเพณีอิสานเป็นสิ่งที่ปฏิบัติสืบทอดต่อกันมาเป็นระยะเวลานาน การจะทำให้สิ่งเหล่านี้ลบเลือนไปคงเป็นไปได้ยาก เพราะวัฒนธรรมได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตของคนอีสานและคลอยู่มาจนถึงปัจจุบัน

 

สนับสนุนจาก  ทดลองเล่น gclub

ประเพณีและวัฒนธรรมของทางภาคเหนือที่เราควรรู้

ทางภาคเหนือหรือที่เราเรียกว่าล้านนาเราเชื่อเสมอว่าทางภาคเหนือเป็นดินแดนที่มีทางประเพณีและวัฒนธรรมที่สวยงามและเป็นที่น่าสนใจและนอกจากนั้นยังเป็นประเพณีที่ใครต่อใครต่างให้ความสนใจมากๆเลยประเพณีของทางภาคเหนือถือได้ว่าเป็นประเพณี ที่เต็มไปด้วยเสน่ห์มนต์ขลังทำให้เป็นที่สนใจของผู้อื่นหรือผู้พบเห็นในพรรคต่างๆนั่นเอง

สำหรับนักท่องเที่ยวที่อยากเข้าไปสัมผัสกับประเพณีของทางภาคเหนืออันงดงามเราคิดว่าท่านคงต้องรีบไปแล้วแหละเพราะการได้ไปสัมผัสกับเรื่องราวและบรรยากาศของทางภาคเหนือถือได้ว่าหากได้ไปอาจจะติดใจและอยากกลับไปอีกครั้งอย่างแน่นอน

สำหรับบางคนหรือใครต่อใครก็ตามอาจสนใจเกี่ยวกับประวัติและเรื่องราวไม่ว่าจะเป็นเล็กๆในน้อยหรือเรื่องราวที่สืบทอดกันมาตั้งคำของโบราณวันนี้เราได้มาเสนอเรื่องราวประวัติของทางภาคเหนือให้ท่านที่สนใจได้อ่านเพื่อเป็นการศึกษาและ เพื่อเป็นการเดินทางท่องเที่ยวของทางภาคเหนือได้ยินถึงเรื่องประวัติและความเป็นมาของทางภาคเหนือบ้าง

อย่างที่ทราบกันดีว่าทางภาคเหนือที่เรารู้จักนั้นมักจะมีลักษณะเป็นภูมิประเทศที่มีลักษณะเป็นเขตภูเขาสลับเงินที่ราบและมีการสลับระหว่างภูเขาทำให้เรียกได้ว่าพื้นที่เหล่านั้นมีคนอาศัยอยู่สลับกันไปมาไม่น้อยเลยและผู้คนที่อาศัยอยู่นั้นเขาได้ กระทำการอยู่กระจายกันเป็นกลุ่มกลุ่มออกไปโดยสิ่งเหล่านี้เราจะได้ยินชื่อเรียกตามโบราณหรือคำบอกเล่าเหล่านั้นว่าวัฒนธรรมของล้านนา

เราจะเห็นได้ว่าทางภาคเหนือนั้นจะเป็นภูมิประเทศที่ค่อนข้างสลับกับแอ่งหุบเขา ดังนั้นอากาศจึงมีอากาศที่ค่อนข้างหนาวเย็นส่วนในฤดูร้อนก็จะมีอากาศที่ค่อนข้างร้อนสูงเนื่องจากทางภาคเหนือได้อยู่ห่างจากทะเลแต่ทว่าอยู่บนภูเขาที่ปกคลุมไปด้วยต้นไม้ป่าไม้นานาพันธุ์ก่อให้เกิดแหล่งกำเนิดของแม่น้ำที่สำคัญในหลายสาย ได้แก่แม่น้ำปิง แม่น้ำวัง และแม่น้ำยม และอีกหนึ่งแห่งที่สำคัญไม่แพ้กันนั่นก็คือแม่น้ำน่าน

โดยพื้นที่เหล่านี้มีพื้นที่ขนาดกว้างเปรียบได้ว่ามีพื้นที่ใกล้เคียงกับประเทศของห้างการีมากที่สุดแต่นั่นก็หมายความว่าพื้นที่ของภาคเหนือนั้ล็กกว่า ประเทศเกาหลีใต้เพียงเล็กน้อย ภาคเหนือของเรามีทั้งหมด 17 จังหวัดโดยแบ่งเป็นภาคเหนือตอนบนและภาคเหนือตอนล่างซึ่งมีลักษณะคล้ายกันแต่ถ้าว่าภาคเหนือตอนบนนั้นมีอยู่เก้าจังหวัดด้วยกันซึ่งจังหวัดเหล่านั้นได้แก่

  • จังหวัดเชียงราย
  • จังหวัดเชียงใหม่
  • จังหวัดน่าน
  • จังหวัดพะเยา
  • จังหวัดแพร่
  • จังหวัดแม่ฮ่องสอน
  • จังหวัดลำปาง
  • จังหวัดลำพูน
  • จังหวัดอุตรดิตถ์

กล่าวโดยภาคเหนือตอนล่างจะมีทั้งหมดแปดจังหวัดด้วยกันและนั่นก็ได้แก่

  • จังหวัดตาก
  • จังหวัดพิษณุโลก
  • จังหวัดสุโขทัย
  • จังหวัดเพชรบูรณ์
  • จังหวัดพิจิตร
  • จังหวัดกำแพงเพชร
  • จังหวัดนครสวรรค์
  • จังหวัดอุทัยธานี

โดยส่วนใหญ่แล้ววัฒนธรรมของทางภาคเหนือนั้นมักจะมีการแบ่งออกได้หลากหลายวิธีและหลากหลายประเภทนั้นก็ได้แก่วัฒนธรรมทางภาษาถิ่นซึ่งเราจะเห็นได้ว่าภาษาของเค้านั้นเป็นภาษาล้านนาที่มีความนุ่มนวลไพเราะไม่ว่าจะพูดหรือท่าทางต่างล้วนแต่เป็นสำเนียงและเป็นการพูดที่แตกต่างกันออกไปแต่คงซึ่ง ไว้การนุ่มนวลโดยรวมแล้วถือได้ว่าเป็นการปฏิบัติที่ดีที่สุดอีกด้วย           

 

สนับสนุนเรื่องราว  เว็บพนันบอลฝากขั้นต่ำ 100