ประเพณีทำขวัญข้าว

ประเพณีทำขวัญข้าว

 ประเพณีทำขวัญข้าวพวกชาวนาเชื่อกันว่าการกราบไหว้เจ้าแม่โพสพ แล้วนั้นจะทำให้ได้ผลผลิตดีและถือเป็นการขอขมาแก่ต้นข้าวไปด้วย เมื่อถึงเวลาเก็บเกี่ยวผลผลิตก็จะมีการจัดการขอขมาหรือทำขวัญข้าว จะทำพิธีในวันศุกร์เพราะเชื่อกันว่าวันศุกร์นั้นเป็นวันขวัญข้าว บางจังหวัดจะทำพิธีถึง2ครั้ง ช่วงข้าวตั้งท้อง และช่วงข้าวเก็บเกี่ยวได้แล้ง เครื่องเซ่นก้อจะมีพวกดอกไม้ น้ำอบ น้ำหอม หมาก พลู  ผ้าแดง ผ้าขาวอ้อย มะพร้าว และของที่มีรสเปรี้ยวและธงสีต่างๆ ใส่ลงในชะลอมเล็กๆและมีด้ายแดง ด้ายขาวผูกเครื่องเซ่นนี้ติดกับต้นข้าว พิธีนี้นิยมให้ผู้หญิงที่เป็นเจ้าของที่นาทำ

วิธีทำขวัญข้าว 

เมื่อข้าวตั้งท้องแล้วนั้น จะมีการทำขวัญข้าวโดยการนำชะลอมมาใส่ข้าวของลงไปในชะลอมอย่างพวกน้ำหอม แป้ง กระจก หวี หรือของแต่งตัวของผู้หญิงและผลไม้ กับขนม 2-3 อย่างลงไปและจัดการผูกกับต้นข้าวโดยการใช้ไม้ไผ่ค้ำผูกติดกับตันข้าวไปด้วย และผู้ทำพิธีจะทำการพรมด้วยแป้งร่ำน้ำหอมและกล่าวขอขมาดังๆเพื่อให้เจ้าแม่โพสพได้ยินและขอให้มีผลผลิตมากมาย จะทำแบบนี้ทั้งช่วงข้าวตั้งท้องและเก็บเกี่ยว ถ้าทำช่วงเก็บเกี่ยวเมื่อทำพิธีเสร็จก็เก็บเกี่ยวได้เลย

พิธีรับขวัญแม่โพสพ

พิธีรับขวัญแม่โพสพนี้จะทำขึ้นในวันขึ้น9ค่ำเดือน6 ของทุกปี ช่วยเป็นขวัญและกำลังใจในการทำนาครั้งต่อไปด้วย ข้อห้ามอย่างเด็ดขาดในการรับขวัญคือ ห้ามให้ผู้ชายทำการรับขวัญข้าวเด็ดขาด และยังเชื่ออีกว่าการทำนาครั้งต่อไปนี้จะผลผลิตที่ดีและเป็นมงคลแก่ชีวิต

ความเชื่อของการทำขวัญข้าว

          การทำขวัญข้าวเป็นความเชื่อและความศรัทธาของชาวนาที่มีการสืบทอดกันมานานว่าได้ทำขวัญข้าวแล้วเจ้าแม่โพสพจะช่วยปกปักรักษาพื้นนาของต้นเองปราศจากพวกแมลง และทำให้มีผลผลิตดี ผืนนาอุดมสมบูรณ์

ตำนานเรื่องพระแม่โพสพ 

          เป็นเรื่องเล่าจากชาวพัทลุง ได้เล่าว่า ได้มีนางฟ้าเป็นเทพธิดาแห่งข้าว อยากให้มนุษย์ได้มีข้าวกินและได้แปลงกายลงมายังโลกมนุษย์ด้วยร่างกายที่แก่ชรามากแล้ว ถือห่อผ้ามาขอพักอาศัยตามบ้านคนต่างๆ แต่ไม่มีใครต้อนรับเลย นางจึงเดินไปเจอกระท่อมหลังหนึ่งได้มาเจอสองผัวเมียจึงให้ที่พักอาศัยแก่นาง นางจึงได้มอบห่อผ้าที่มีเมล็ดข้าวให้สองผัวเมียได้ไปปลูกเมื่อข้าวได้เจอน้ำก็เจริญเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว และให้นำเมล็ดข้าวไปแจกแก่ชาวบ้านแล้วบอกว่านี่จะเป็นอาหารที่ใช้กินกันต่อไปและหญิงชราก็หายไปต่อหน้า

 

ให้การสนับสนุนโดย  Gclub ฝากขั้นต่ำ50

ประเพณีและวัฒนธรรมของทางภาคเหนือที่เราควรรู้

ทางภาคเหนือหรือที่เราเรียกว่าล้านนาเราเชื่อเสมอว่าทางภาคเหนือเป็นดินแดนที่มีทางประเพณีและวัฒนธรรมที่สวยงามและเป็นที่น่าสนใจและนอกจากนั้นยังเป็นประเพณีที่ใครต่อใครต่างให้ความสนใจมากๆเลยประเพณีของทางภาคเหนือถือได้ว่าเป็นประเพณี ที่เต็มไปด้วยเสน่ห์มนต์ขลังทำให้เป็นที่สนใจของผู้อื่นหรือผู้พบเห็นในพรรคต่างๆนั่นเอง

สำหรับนักท่องเที่ยวที่อยากเข้าไปสัมผัสกับประเพณีของทางภาคเหนืออันงดงามเราคิดว่าท่านคงต้องรีบไปแล้วแหละเพราะการได้ไปสัมผัสกับเรื่องราวและบรรยากาศของทางภาคเหนือถือได้ว่าหากได้ไปอาจจะติดใจและอยากกลับไปอีกครั้งอย่างแน่นอน

สำหรับบางคนหรือใครต่อใครก็ตามอาจสนใจเกี่ยวกับประวัติและเรื่องราวไม่ว่าจะเป็นเล็กๆในน้อยหรือเรื่องราวที่สืบทอดกันมาตั้งคำของโบราณวันนี้เราได้มาเสนอเรื่องราวประวัติของทางภาคเหนือให้ท่านที่สนใจได้อ่านเพื่อเป็นการศึกษาและ เพื่อเป็นการเดินทางท่องเที่ยวของทางภาคเหนือได้ยินถึงเรื่องประวัติและความเป็นมาของทางภาคเหนือบ้าง

อย่างที่ทราบกันดีว่าทางภาคเหนือที่เรารู้จักนั้นมักจะมีลักษณะเป็นภูมิประเทศที่มีลักษณะเป็นเขตภูเขาสลับเงินที่ราบและมีการสลับระหว่างภูเขาทำให้เรียกได้ว่าพื้นที่เหล่านั้นมีคนอาศัยอยู่สลับกันไปมาไม่น้อยเลยและผู้คนที่อาศัยอยู่นั้นเขาได้ กระทำการอยู่กระจายกันเป็นกลุ่มกลุ่มออกไปโดยสิ่งเหล่านี้เราจะได้ยินชื่อเรียกตามโบราณหรือคำบอกเล่าเหล่านั้นว่าวัฒนธรรมของล้านนา

เราจะเห็นได้ว่าทางภาคเหนือนั้นจะเป็นภูมิประเทศที่ค่อนข้างสลับกับแอ่งหุบเขา ดังนั้นอากาศจึงมีอากาศที่ค่อนข้างหนาวเย็นส่วนในฤดูร้อนก็จะมีอากาศที่ค่อนข้างร้อนสูงเนื่องจากทางภาคเหนือได้อยู่ห่างจากทะเลแต่ทว่าอยู่บนภูเขาที่ปกคลุมไปด้วยต้นไม้ป่าไม้นานาพันธุ์ก่อให้เกิดแหล่งกำเนิดของแม่น้ำที่สำคัญในหลายสาย ได้แก่แม่น้ำปิง แม่น้ำวัง และแม่น้ำยม และอีกหนึ่งแห่งที่สำคัญไม่แพ้กันนั่นก็คือแม่น้ำน่าน

โดยพื้นที่เหล่านี้มีพื้นที่ขนาดกว้างเปรียบได้ว่ามีพื้นที่ใกล้เคียงกับประเทศของห้างการีมากที่สุดแต่นั่นก็หมายความว่าพื้นที่ของภาคเหนือนั้ล็กกว่า ประเทศเกาหลีใต้เพียงเล็กน้อย ภาคเหนือของเรามีทั้งหมด 17 จังหวัดโดยแบ่งเป็นภาคเหนือตอนบนและภาคเหนือตอนล่างซึ่งมีลักษณะคล้ายกันแต่ถ้าว่าภาคเหนือตอนบนนั้นมีอยู่เก้าจังหวัดด้วยกันซึ่งจังหวัดเหล่านั้นได้แก่

  • จังหวัดเชียงราย
  • จังหวัดเชียงใหม่
  • จังหวัดน่าน
  • จังหวัดพะเยา
  • จังหวัดแพร่
  • จังหวัดแม่ฮ่องสอน
  • จังหวัดลำปาง
  • จังหวัดลำพูน
  • จังหวัดอุตรดิตถ์

กล่าวโดยภาคเหนือตอนล่างจะมีทั้งหมดแปดจังหวัดด้วยกันและนั่นก็ได้แก่

  • จังหวัดตาก
  • จังหวัดพิษณุโลก
  • จังหวัดสุโขทัย
  • จังหวัดเพชรบูรณ์
  • จังหวัดพิจิตร
  • จังหวัดกำแพงเพชร
  • จังหวัดนครสวรรค์
  • จังหวัดอุทัยธานี

โดยส่วนใหญ่แล้ววัฒนธรรมของทางภาคเหนือนั้นมักจะมีการแบ่งออกได้หลากหลายวิธีและหลากหลายประเภทนั้นก็ได้แก่วัฒนธรรมทางภาษาถิ่นซึ่งเราจะเห็นได้ว่าภาษาของเค้านั้นเป็นภาษาล้านนาที่มีความนุ่มนวลไพเราะไม่ว่าจะพูดหรือท่าทางต่างล้วนแต่เป็นสำเนียงและเป็นการพูดที่แตกต่างกันออกไปแต่คงซึ่ง ไว้การนุ่มนวลโดยรวมแล้วถือได้ว่าเป็นการปฏิบัติที่ดีที่สุดอีกด้วย           

 

สนับสนุนเรื่องราว  เว็บพนันบอลฝากขั้นต่ำ 100